หูดหงอนไก่ ไม่น่ากลัวอย่างที่คิดหากรู้จักป้องกัน

หูดหงอนไก่ ไม่น่ากลัวอย่างที่คิดหากรู้จักป้องกัน

หูดหงอนไก่ คือโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ชนิดหนึ่ง ที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัส HPV (Human Papillomavirus) รอยโรคจะมีลักษณะก้อนหูดขนาดเล็ก ไปจนถึงใหญ่ ตำแหน่งที่มักพบได้บ่อยคือ บริเวณเยื่อบุผิวที่ตำแหน่งอวัยวะเพศ เช่น ปากช่องคลอด ผนังช่องคลอด ปากมดลูก ทวารหนัก ท่อปัสสาวะ เยื่อหุ้มปลายองคชาต หูดหงอนไก่สามารถป้องกันได้โดยการสร้างภูมิคุ้มกันร่างกายให้มีการต่อต้านเชื้อไวรัสชนิดนี้ ผ่านการฉีดวัคซีนป้องกันเชื้อไวรัส HPV ซึ่งสามารถฉีดได้ทั้งผู้ชายและผู้หญิง หูดหงอนไก่มีลักษณะอาการอย่างไร ? หูดหงอนไก่ จะมีลักษณะ เป็นตุ่มหรือแผ่นนูน นิ่มๆ คล้ายดอกกะหล่ำ สีชมพูหรือสีเดียวกับผิวหนัง ยื่นออกมาบริเวณอวัยวะเพศและบริเวณใกล้เคียง ตำแหน่งพบได้บ่อย ได้แก่ ปากช่องคลอด ผนังช่องคลอด ปากมดลูก ทวารหนัก ท่อปัสสาวะ เยื่อหุ้มปลายองคชาต โดยส่วนใหญ่แล้วหูดหงอนไก่จะไม่ทำให้เกิดอาการเจ็บหรือระคายเคือง เว้นแต่ในบางกรณีหูดหงอนไก่อาจสร้างความเจ็บปวดจนทำให้ต้องทำการรักษาเพื่อบรรเทาอาการ หูดหงอนไก่สาเหุตเกิดจากอะไร ? สาเหตุของหูดหงอนไก่ เกิดจากเชื้อไวรัส (Human Papillomavirus) หรือ HPV ซึ่งเป็นเชื้อไวรัสชนิดเดียวกันที่ก่อให้เกิดโรคมะเร็งปากมดลูกในผู้หญิง เชื้อไวรัสชนิดนี้สามารถติดต่อกันได้ผ่านทางเพศสัมพันธ์โดยไม่ได้ป้องกัน หรือกิจกรรมทางเพศอื่น ๆ แต่ไม่สามารถติดต่อกันผ่านการจูบ การกอด หรือการใช้ของใช้ส่วนตัวร่วมกันได้…

เคล็ดลับห่างไกลจาก โรค HPV

โรค HPV มีเคล็ดลับในการป้องกันไม่ให้เกิดการติดเชื้อ ซึ่งเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ชนิดหนึ่ง สามารถเกิดขึ้นได้ทั้งเพศหญิงและเพศชาย ส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพ ได้แก่ หูดที่อวัยวะเพศ มะเร็งปากมดลูก มะเร็งทวารหนัก และมะเร็งในช่องปาก เป็นต้น การป้องกันไม่ให้ติดเชื้อไวรัสเอชพีวีเกี่ยวข้องกับการฉีดวัคซีน การมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย และการตรวจคัดกรองอย่างสม่ำเสมอ ในบทความนี้ เราจะอธิบายถึงมาตรการป้องกันเพื่อที่จะสามารถลดความเสี่ยงในการรับติด โรค HPV ได้อย่างมีประโยชน์สูงสุด

หนองใน (Gonorrhea) | โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ พบได้ทั้งในเพศชายและเพศหญิง

หนองใน (Gonorrhea) เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ชนิดหนึ่ง เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Neisseria gonorrhoeae ส่วนใหญ่ติดต่อกันผ่านทางเพศสัมพันโดยไม่ได้ป้องกัน อาการที่พบบ่อย ได้แก่ ปัสสาวะแสบขัด หนองจากอวัยวะเพศ หรือมีตกขาวผิดปกติออกมาทางช่องคลอด หนองในสามารถพบได้ทั้งในเพศชายและเพศหญิง หากไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง อาจทำให้การติดเชื้อลุกลามหรือมีภาวะแทรกซ้อนได้ ซึ่งหนองในแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด ได้แก่ การวินิจฉัยหนองใน หนองใน สามารถตรวจวินิจฉัยได้โดยการเก็บตัวอย่างปัสสาวะส่งเพาะเชื้อ แต่หากมีเพศสัมพันธ์ทางปากหรือมีอาการแสดงบริเวณช่องปากหรือลำคอ อาจเก็บตัวอย่างจากลำคอ หากมีเพศสัมพันธ์ทางทวารหนักหรือมีอาการแสดงบริเวณทวารหนัก อาจเก็บตัวอย่างจากทวารหนัก หากมีอาการหนองในแสดงบริเวณอวัยวะเพศ อาจเก็บตัวอย่างจากปลายองคชาต หรือบริเวณปากมดลูก อาการหนองใน อาการในเพศชาย อาการในเพศหญิง การติดเชื้อทางทวารหนัก หนองในแท้และหนองในเทียม ต่างกันอย่างไร ? การป้องกันหนองใน การรักษาหนองใน หนองในสามารถรักษาได้ ด้วยการใช้ยาปฏิชีวนะ รวมถึงใช้การรักษาอื่นๆควบคู่เพื่อบรรเทาอาการและลดภาวะแทรกซ้อนของโรค หากผู้ป่วยเข้ารับการรักษาเร็ว สามารถหายได้เร็ว แต่อาการความเสียหายของเนื้อเยื่อต้องใช้เวลาให้ร่างกายซ่อมแซมตัวเอง สำหรับผู้ติดเชื้อหนองใน แพทย์จำเป็นต้องตรวจหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อื่นๆ ที่อาจพบร่วมด้วย เช่น เอชไอวี(HIV), ซิฟิลิส(Syphilis) อ่านบทความอื่นๆ เพิ่มเติม ถึงแม้ว่า “หนองใน” จะสามารถรักษาได้…

รักษาซิฟิลิส ไม่ต่อเนื่อง เสี่ยงอันตราย

ว่าด้วยเรื่องของการ รักษาซิฟิลิส เพราะเป็นโรคที่ร้ายแรง และสามารถติดต่อไปสู่ผู้อื่นได้ง่าย โดยมีอาการที่ไม่ค่อยแสดงออกมา แต่อาจจะเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ ดังนั้นการ รักษาซิฟิลิส จึงเป็นสิ่งที่สำคัญมาก เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรค และช่วยให้ผู้ป่วยหายขาดได้อย่างแน่นอน ความสำคัญของการ รักษาซิฟิลิส โรคซิฟิลิส คือ สภาวะที่เกิดขึ้นจากการทำงานที่ผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน ทำให้เซลล์ภูมิคุ้มกันโจมตีเนื้อเยื่อภายในร่างกาย ซึ่งอาจเป็นอวัยวะ หรือเนื้อเยื่อต่างๆ ทำให้เกิดอาการอักเสบและความเสียหายต่อร่างกายได้ เชื้อซิฟิลิส เป็นโรคที่รุนแรงและเป็นอันตรายถ้าไม่ได้รับการรักษาซิฟิลิส ให้เหมาะสม การวินิจฉัยโรคซิฟิลิส จะใช้การตรวจเลือด และการตรวจเนื้อเยื่อ เพื่อหาสารที่เป็นตัวบ่งชี้ว่า การโจมตีเนื้อเยื่อจากระบบภูมิคุ้มกันหรือไม่ การรักษาโรคซิฟิลิส จะใช้ยาเข้าควบคุมระบบภูมิคุ้มกัน หรือการผ่าตัดเพื่อเอาเนื้อเยื่อที่ถูกโจมตีออกจากร่างกาย อีกทั้งยังมีการรักษาโดยใช้เซลล์เอกซ์ไทร์ภูมิคุ้มกัน หรือการฉีดวัคซีนเพื่อเสริมภูมิคุ้มกันด้วย สาเหตุของการเกิดโรคซิฟิลิส สาเหตุของโรคซิฟิลิสไม่เป็นที่รู้จักอย่างแน่ชัด แต่มีการวิจัยพบว่าโรคซิฟิลิสเกิดจากการผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันซึ่งทำให้เซลล์ภูมิคุ้มกันโจมตีเนื้อเยื่อภายในร่างกาย ส่วนสาเหตุที่ทำให้เกิดการผิดปกตินี้ไม่เป็นที่รู้จักอย่างแน่ชัด แต่คาดว่าอาจมีความสัมพันธ์กับพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม เช่น ความเครียด การติดเชื้อ หรือการนำเข้าสารเคมีต่างๆ ซึ่งส่งผลกระทบต่อระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายได้ การวิจัยยังคงต้องทำต่อไปเพื่อให้เข้าใจสาเหตุและวิธีการป้องกันโรคซิฟิลิสให้ดียิ่งขึ้นได้ในอนาคต อาการของซิฟิลิส อาการของโรคซิฟิลิส จะแตกต่างกันไปตามสายพันธุ์ ของเชื้อแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุ แต่ส่วนใหญ่จะมีอาการเหมือนกัน อาการที่พบบ่อยที่สุดคือ ในบางกรณีอาจพบอาการแสดงอื่นๆ เช่น ผื่นขึ้นที่ผิวหนังหรืออาการเจ็บคอ การรักษาโรคซิฟิลิสจะขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ของเชื้อแบคทีเรียและความรุนแรงของอาการ โดยทั่วไปแล้วการรักษาจะใช้ยาปฏิชีวนะเป็นหลัก…

รักษาหูดข้าวสุก ด้วยตัวเอง ทำได้หรือไม่

หลายคนสงสัยว่าการ รักษาหูดข้าวสุก นั้นสามารถทำได้ด้วยตัวเองจริงหรือเปล่า ซึ่งในความเป็นจริงแล้วทำได้ยากเพราะเราไม่อาจรู้ได้ว่าติดเชื้อมาตอนไหน และลักษณะของตุ่มก็มีความคล้ายคลึงกับโรคผิวหนังชนิดอื่นด้วย หากคิดจะ รักษาหูดข้าวสุก ควรทำการปรึกษาแพทย์เฉพาะทางที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคนี้โดยตรงจะดีที่สุด ซึ่งวันนี้ เราจะมาแนะนำเรื่องเกี่ยวกับการรักษาหูดข้าวสุกและการป้องกันที่คุณควรรู้เพื่อจะได้ห่างไกลจากโรคนี้ได้ครับ หูดข้าวสุก คือโรคอะไรกันแน่? โรคนี้เกิดจากการติดเชื้อไวรัสชนิดหนึ่งที่มีชื่อว่า Molluscum Contagiosum Virus : MCV (มอลลัสคุม คอนทาจิโอซุมไวรัส) เป็นเชื้อไวรัสที่อยู่ในกลุ่มพอกซ์ไวรัส (Poxvirus) ที่มักพบในบริเวณผิวหนังชั้นนอกเท่านั้น โดยจะแบ่งออกเป็นไวรัส MCV 4 ชนิดย่อย แต่ชนิดที่ 1 จะเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดหูดข้าวสุกได้มากกว่า 95% แลไวรัสนี้ไม่มีผลต่อระบบภายในร่างกาย รวมไปถึงไม่แพร่กระจายโดยการจามหรือไอ ถือเป็นโรคผิวหนังที่สามารถติดต่อกันได้ในทุกเพศทุกวัย ซึ่งเชื้อจะเข้าไปในบริเวณผิวหนังที่เป็นแผล ลอก แตก จนทำให้เกิดตุ่มเนื้อ และมีรอยนูนขนาดเล็กทั่วร่างกาย แต่จะไม่ขึ้นตุ่มที่ฝ่ามือฝ่าเท้า เหมือนกับโรคซิฟิลิส และไม่ได้ส่งผลต่อระบบอวัยวะภายในมากนัก อาการของโรคหูดข้าวสุก ถึงแม้ว่า โรคนี้จะไม่ได้มีอาการที่รุนแรง แต่ทุกคนก็ควรได้รับการ รักษาหูดข้าวสุก ระยะฟักตัวตั้งแต่ได้รับเชื้อไวรัสนี้มาจะเกิดอาการประมาณ 14 วันขึ้นไป ถึง 6 เดือน โดยอาการที่อาจสังเกตพบได้ มีดังต่อไปนี้…

เริมที่อวัยวะเพศ รักษาอย่างไร

เริมที่อวัยวะเพศ เป็นหนึ่งในโรคที่สามารถเกิดขึ้นได้ หากคุณมีเพศสัมพันธ์กับคนที่มีเชื้อ ซึ่งพบได้ทุกเพศทุกวัย ยิ่งเฉพาะกลุ่มวัยรุ่นและวัยทำงาน ที่มีโอกาสจะมีเซ็กส์กับคนแปลกหน้าได้ และทำให้ติดโรคเริมที่อวัยวะเพศมา ความน่ากลัวของเชื้อเริมนี้ คือ เมื่อคุณติดแล้วจะกลับมาเป็นซ้ำได้อีกเรื่อยๆ ไม่สามารถหายขาดได้อย่างสนิทใจสักที หากคุณไม่ทำการรักษาก็จริงลุกลามเป็นแผล ส่งผลให้รู้สึกขาดความมั่นใจได้ครับ เริมที่อวัยวะเพศ มีสาเหตุจากอะไร โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อย่างเริมที่อวัยวะเพศนั้น จัดเป็นโรคที่เกิดจากไวรัสยอดฮิตที่ชื่อ เอชเอสวี (HSV : Herpes Simplex Virus) อ่านว่า เฮอร์พีส์ ซิมเพล็กซ์ ไวรัส แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ เริมที่อวัยวะเพศ ติดต่อง่ายแค่ไหน เริมที่อวัยวะเพศนี้ติดต่อกันได้ง่ายแม้ไม่ได้มีการสอดใส่หรือร่วมเพศระหว่างกันก็ตาม เพราะสามารถติดกันได้จากการสัมผัสเชื้อผ่านแผลและเยื่อบุต่างๆ เช่น การใช้มือสัมผัสเชื้อของผู้ที่เป็นเริมและนำมาจับอวัยวะเพศของตัวเอง ก็ทำให้เกิดการถ่ายทอดเชื้อได้ หรือแม้แต่การใส่ถุงยางอนามัยที่เราอาจจับโดนเชื้อแล้วมาจับที่อวัยวะเพศก่อนสวมถุงยางอนามัย จึงทำให้ไม่ช่วยป้องกันเชื้อเริมได้ทั้งหมด ที่สำคัญ เรายังมีโอกาสที่จะติดเชื้อเริมที่อวัยวะเพศจากแฟนหรือคู่นอนที่ไม่มีอาการ หรือแผลเริมได้อีกด้วย เนื่องจากอาการที่เคยเป็นหายไปแล้วเรียบร้อยและไม่มีรอยโรคที่สังเกตเห็นได้ ซึ่งจะแพร่เชื้อได้มากที่สุดในช่วง 1 ปีแรกหลังการติดเชื้อนั่นเอง อาการของเริมที่อวัยวะเพศ ในระยะแรกที่ติดเชื้อซึ่งจะมีระยะฟักตัวประมาณ 4-5 วัน จึงจะเริ่มแสดงอาการ และแพร่ไปตามแนวเส้นประสาท เกิดการลามเป็นบริเวณกว้างไปในบริเวณอื่นๆ ของร่างกายได้…

หูดหงอนไก่ (Genital warts)

หูดหงอนไก่ (Genital warts) เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นตุ่มๆ มีผิวขรุขระคล้ายหงอนไก่ ขึ้นที่บริเวณอวัยะเพศ สามารถพบได้ทั้งในชายและหญิง สาเหตุหลักพบว่า 90% มาจากการติดเชื้อไวรัส (Human Papilloma Virus : HPV) หูดหงอนไก่สาเหตุมาจากอะไร ? สาเหตุของหูดหงอนไก่ เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอชพีวี (HPV) ซึ่งในปัจจุบันพบว่ามีเชื้อชนิดนี้กว่า 200 สายพันธุ์ย่อย บางสายพันธุ์ทำให้เกิดหูดที่ผิวหนัง บางสายพันธุ์ทำให้เกิดหูดหงอนไก่ บางสายพันธุ์ทำให้เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งในระบบสืบพันธุ์และทางเดินอุจจาระ สำหรับเชื้อที่ทำให้เกิดหูดหงอนไก่นั้น พบว่าประมาณ 90% เกิดจากสายพันธุ์ย่อย 6 และ 11 อาการหูหงอนไก่ หูดหงอนไก่ ทำให้เกิดติ่งเนื้อผิวขรุขระ ลักษณะคล้ายดอกกะหล่ำ แต่ไม่มีอาการเจ็บ ไม่คัน ไม่ระคายเคืองสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า สามารถขึ้นได้ที่องคชาติ หนังหุ้มปลาย ทวารหนัก ช่องคลอด ปากมดลูก หากไม่ทำการรักษาจะมีขนาดใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ และเกิดมะเร็งตามมา ได้แก่ มะเร็งปากมดลูก มะเร็งทวารหนัก มะเร็งองคชาติ เป็นต้น ใครบ้างที่ควรตรวจหูดหงอนไก่ ? หูดหงอนไก่ป้องกันได้อย่างไร ?…

|

ไวรัสตับอักเสบบี มีสาเหตุมาจากอะไร?

ไวรัสตับอักเสบบี เป็นหนึ่งในโรคติดต่อที่ยังถูกพบจำนวนมาก ในประเทศไทย ซึ่งนำไปสู่โรคร้ายแรงต่อตับของร่างกาย ได้แก่ โรคมะเร็งตับ โรคตับแข็ง และโรคตับวาย เป็นต้น ยังมีอีกหลายคนที่ไม่ทราบว่าตัวเองติดไวรัสตับอักเสบบีอยู่ เพราะไม่มีความรู้ความเข้าใจว่าโรคชนิดนี้มีสาเหตุมาจากอะไร โดยบทความนี้จะแสดงรายละเอียดถึงโรคไวรัสตับอักเสบบีทั้งหมด รู้จักไวรัสตับอักเสบบี โรคไวรัสตับอักเสบบี หรือภาษาอังกฤษว่า Hepatitis B virus : HBV เมื่อผู้ติดเชื้อได้รับไวรัสชนิดนี้เข้าสู่ร่างกายจะทำให้เกิดการอักเสบของเซลล์ตับ การทำงานของตับเสื่อมลงเพราะเกิดพังผืดค่อยๆ เกาะหลายปี อันส่งผลให้มีภาวะตับอักเสบเรื้อรัง ตับแข็ง และอาจกลายเป็นมะเร็งตับในที่สุด จากสถิติพบว่า ผู้ป่วยมะเร็งตับร้อยละ 90 มีประวัติเคยเป็นโรคไวรัสตับอักเสบมาก่อน อาการของโรคไวรัสตับอักเสบบี ความเป็นจริง โรคไวรัสตับอักเสบบี ใช้เวลาค่อนข้างนานกว่าจะมีอาการแสดงออกมาให้เห็นชัดๆ หรือในบางรายจะเข้าสู่ระยะอาการแบบเฉียบพลันเท่านั้น และอาการส่วนใหญ่ที่สามารถสังเกตได้ คือ ประมาณ 10-20% ของคนที่ติดเชื้อไวรัสอักเสบบีจะหายจากโรคไปได้เอง เพราะภูมิคุ้มกันที่เกิดขึ้นจากสภาพร่างกายของแต่ละบุคคล หากเข้าสู่ระยะเรื้อรังแล้ว ไวรัสตับอักเสบบี ติดต่อกันอย่างไร เชื้อไวรัสตับอักเสบบี จะสามารถติดต่อกันผ่านทางเลือด และสารคัดหลั่งของมนุษย์เป็นหลัก การที่จะรู้ได้ว่าคุณติดเชื้อแล้วหรือไม่ จะต้องมีการเจาะเลือดตรวจหาเชื้อไวรัสตับอักเสบบีด้วยวิธีการต่างๆ ดังต่อไปนี้ ความเสี่ยงเหล่านี้ อาจทำให้คุณติดเชื้อ ไวรัสตับอักเสบบี ได้ ไวรัสตับอักเสบบี…

กามโรคเป็นแล้วรักษาหายได้ไหม?

กลุ่มโรคที่เกิดจากการติดต่อผ่านทางเพศสัมพันธ์กับคนที่เป็นโรคหรือคนที่ติดเชื้อ ไม่ว่าจะเป็นการร่วมเพศทางช่องคลอด ทางปาก หรือทางทวารหนัก เดิมมีชื่อว่า กามโรค (venereal diseases) ในปัจจุบันมีการค้นพบโรคในกลุ่มดังกล่าวเพิ่มขึ้นจึงเปลี่ยนชื่อเป็น โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (sexually transmitted infections, STIs) โรคที่สำคัญคือ ซิฟิลิส หนองในแท้ หนองในเทียม เริม และเอชพีวี กามโรค (Venereal Disease)  คืออะไร กามโรค (Venereal Disease) คือ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (STDs) หรือการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ (STIs) เป็นโรคที่แพร่เชื้อกันเมื่อมีเพศสัมพันธ์ทั้งการสอดใส่ทางช่องคลอด ทวารหนัก หรือทำออรัลเซ็กส์ ซึ่งติดต่อจากคนสู่คนผ่านการสัมผัสผิวหนังที่เป็นโรค หรือสัมผัสเลือด อสุจิ เมือกในช่องคลอด และของเหลวอื่น ๆ ที่มาจากร่างกาย ทั้งนี้ กามโรคติดต่อกันได้โดยไม่ใช่จากการร่วมเพศเพียงอย่างเดียว แต่รวมไปถึงการติดต่อทางสายเลือด การถ่ายเลือด การใช้เข็มหรือสิ่งของที่สัมผัสเลือด มูก หรือของเหลวของผู้ป่วยที่มีเชื้อ กามโรคเชื้อร้ายกลายพันธุ์ พัฒนาเป็น ซูเปอร์กามโรค 4 ชนิด 1….

ป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ มีผลกระทบต่อทุกคนที่มีเพศสัมพันธ์ การติดเชื้อบางอย่างสามารถรักษาได้เพื่อให้คุณ และคู่นอนของคุณมีสุขภาพที่แข็งแรง และคุณเองสามารถป้องกันตัวเองจากการติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้ STI  คืออะไร? โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (Sexually transmitted infections; STI)  คือ การติดเชื้อจากบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่งระหว่างการมีเพศสัมพันธ์ โดยผ่านการจูบ, การสัมผัสหรือถูอวัยวะเพศ, การมีเพศสัมพันธ์โดยใช้ปาก (การใช้ปากกับอวัยวะเพศ), การร่วมเพศ (องคชาตในช่องคลอด องคชาตในทวารหนัก), การใช้เซ็กซ์ทอย รวมถึง การติดเชื้อจากแม่ไปสู่ลูกระหว่างตั้งครรภ์ ระหว่างคลอด และหลังคลอด โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่พบได้บ่อยที่สุด ใครเสี่ยงที่จะติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ? เมื่อไหร่ที่ควรมาตรวจโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์? จะปฏิบัติตัวอย่างไรเมื่อสงสัยว่าอาจติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ? เมื่อพบว่ามีอาการผิดปกติที่สงสัยว่าเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ หรือเพิ่งมีความเสี่ยงในการติดโรค ควรรีบปรึกษาแพทย์ และงดการมีเพศสัมพันธ์ชั่วคราวเพื่อลดการแพร่กระจายเชื้อไปยังบุคคลอื่นจนกว่าจะทราบผลการตรวจ ถ้าแพทย์วินิจฉัยว่าเป็นโรคควรงดการมีเพศสัมพันธ์ จนกว่าจะได้รับการรักษาจนหาย และแนะนำให้คู่นอนในช่วง 1 ปีที่ผ่านมา เข้ารับการตรวจรักษาด้วย  โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่รักษาหาย และไม่หาย โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่รักษาหาย โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่รักษาไม่หายขาด วิธีการป้องกันการเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ทำอย่างไรได้บ้าง อ่านบทความอื่นๆ อ้างอิงข้อมูลจากเว็บไซต์ :